Page 9 - CAT CLUB
P. 9
CAT BUSINESS
“ส�าหรับโอกาสในธุรกิจสื่อสารข้อมูล เรามองว่าจะมา
จากการปรับตัวของภาคธุรกิจ ซึ่งมีปัจจัยส�าคัญมาจาก
Mega Trend ที่มีอิทธิพลต่อภาคธุรกิจทั่วโลก เห็นได้
อย่างชัดเจนจากธุรกิจ Best Practice ต้นแบบส่วนใหญ่
จะเป็นธุรกิจที่ประสบความส�าเร็จจากการพัฒนา
เทคโนโลยีไอทีและเครือข่ายในกระบวนการทางธุรกิจ
อาทิ Netflix ธุรกิจ Content ที่เพิ่มช่องทางสื่อไปสตรีมมิ่ง
ออนไลน์ และขยายตลาดไปทั่วโลก หรือ DHL ที่พัฒนา
นวัตกรรมโซลูชันโลจิสติกส์ให้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด
จนสามารถก้าวขึ้นไปอยู่ในฐานะของผู้ให้บริการโลจิสติกส์
ชั้นน�าระดับโลก
ทั้งนี้ Mega Trend ที่ส�าคัญโดดเด่น ประกอบด้วย
ผู้น�านวัตกรรม (Innovation Leader) การยกระดับบุคลากรขององค์กร
01 02
นวัตกรรมของธุรกิจไม่ใช่เพียงแค่การออกผลิตภัณฑ์ (Skills Development)
บริการใหม่ แต่รวมไปถึงเรื่องของการมีนวัตกรรมอยู่ในส่วนต่างๆ การพัฒนาบุคลากรเป็นเรื่องส�าคัญสูงสุด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทักษะของ
ของธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการผลิต การตลาด ซึ่งได้รวมในหลายๆ บุคลากร การแสวงหาบุคลากรที่เหมาะสม การฝึกอบรม หรือการรักษา
เทรนด์ไว้ในเรื่องของนวัตกรรมอย่างเช่นการใช้ AI เข้ามามีส่วนใน บุคลากรเอาไว้ โดยปัจจุบันการพัฒนาทักษะและปรับทัศนคติ รวม
การพัฒนาธุรกิจให้มีความเป็นอัจฉริยะ โดยมีกระบวนการหลักๆ คือ ถึงวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรมีความกระตือรือร้น ร่วมกันแบ่งปัน
การเรียนรู้การท�างานของระบบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ แล้วสามารถ องค์ความรู้ และเปิดรับเรื่องราวของเทคโนโลยีใหม่ๆ ในธุรกิจ ท�าให้
ตอบสนอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างอัตโนมัติ ซึ่งนั่นจะเป็นการ ลดช่องว่างของ Generation ต่างๆ ในองค์กร ไปสู่ Gen C เดินเข้าสู่
ตัดสินใจและการแก้ไขปัญหาด้วยทางเลือกที่ดีที่สุดอย่างชาญฉลาด ยุคดิจิทัลไปด้วยกัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะท�าให้ธุรกิจมีการปรับใช้เทคโนโลยี
อีกส่วนหนึ่งที่ AI เริ่มเข้ามามีบทบาทก็คือการใช้ AI ในการควบคุม ได้มากขึ้น ท�าให้มีการใช้บริการสื่อสารข้อมูลมากขึ้นเช่นกัน
ระบบเครือข่ายขององค์กรโดยให้ AI เรียนรู้ระบบเครือข่าย ด้วย
เทคโนโลยี Machine Learning ท�าให้สามารถควบคุมและแก้ไข การขยายตัวของสังคมเมือง
ปัญหาเครือข่ายได้แบบอัจฉริยะ ทั้งเรื่องของการเลือกเส้นทางของ 03 (Smart City)
เครือข่าย การ Switch เครือข่ายไปยังเครือข่ายหลักหรือเครือข่ายส�ารอง การพัฒนาเมืองให้ก้าวสู่การเป็น Smart City ที่มีระบบสาธารณูปโภค
โดยอัตโนมัติตามสถานการณ์ การควบคุมระบบเครือข่ายให้อยู่ใน อัจฉริยะรองรับทั้งเมืองเชื่อมต่อกันด้วยเทคโนโลยีที่อ�านวยความ
สภาวะปกติเมื่อมีความแปรปรวนในระบบ ซึ่งเราเรียกว่าหลักการ สะดวกให้แก่ประชาชนผู้อาศัย มีการใช้นวัตกรรมและพลังงานทดแทน
ของ Intent-Based Networking (IBN) ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นการเพิ่ม โดยใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สร้างสมดุล
ขีดความส�าเร็จทางธุรกิจ โดยในปัจจุบันผู้ผลิต Hardware/Software ให้กับสิ่งแวดล้อม สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้ผู้อยู่อาศัย ซึ่งในส่วนของ
ต่างๆ ก็มุ่งเน้นการผลิตตามหลักการของ IBN ด้วยเช่นกัน ประเทศไทยเอง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ได้ลงทุนและร่วมลงทุนด้าน
โครงสร้างพื้นฐาน และ CAT ได้เป็นผู้จัดวางระบบ
LoRa เพื่อการเชื่อมโยงอุปกรณ์ IoT ใน Smart City
ส�าหรับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก (อีอีซี)
ซึ่งมีโครงการดิจิทัลพาร์คเป็นส่วนหนึ่งนั้น ใน
ไตรมาสแรกของปี 2561 มีมูลค่าการลงทุนสูง
ถึงกว่า 200,000 ล้านบาท โดย CAT ได้ร่วมพัฒนา
ระบบโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ทั้งการ
เชื่อมโยงเพื่อการสื่อสารข้อมูล และศูนย์ข้อมูล
Data Center ซึ่งการขยายตัวของเมืองเทคโนโลยี
เหล่านี้ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท�าให้ธุรกิจสื่อสารข้อมูล
และโทรคมนาคม เติบโตไปด้วยเช่นกัน
SEPTEMBER 2018 | CAT CLUB | 9