Page 11 - CAT CLUB
P. 11

MARKETING        11





                                                                     จะท�าอย่างไรให้ผู้ประสบภัยมีรายได้
                                                                     และมีงานท�าอย่างยั่งยืน?


                                                                      ค�าถามสั้นๆ แต่แฝงด้วยปัญหาอันหนักอึ้งผุดขึ้นในใจ
                                                                      ของมิตาไร ทามาโกะ


                                                               มิตาไรมุ่งมั่นช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากแผ่นดินไหวโทโฮกุ หนึ่งใน
                                                               บริเวณที่ประสบภัยหนักที่สุด คือ เขต Kesennuma หมู่บ้านชาวประมง
                                                               ริมทะเล บ้านเรือนเสียหาย คนส่วนใหญ่ต้องย้ายไปอยู่บ้านพักชั่วคราว
                                                               ในเขตอพยพ มิตาไรเริ่มมองไปที่สิ่งที่พวกเขาถนัด ผู้หญิงส่วนใหญ่ต้อง
                                                               ช่วยสามีทอแห อวน ขณะเดียวกันต้องคอยอยู่บ้านดูแลผู้สูงอายุหรือ
                                                               ลูกๆ ไม่สามารถออกมาท�างานบ่อยๆ ได้


                                                               ทางแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ที่เธอค้นพบ คือ การท�าธุรกิจเสื้อถักมือ
                                                               น�าสิ่งที่ผู้หญิงในหมู่บ้านถนัดมาพัฒนาต่อยอด เธอตั้งชื่อบริษัท
                                                    Cr. Pinky
                                                               และชื่อแบรนด์ว่า “Kesennuma Knitting” ตามชื่อเมืองเพื่อให้
                                                               Kesennuma Knitting พิเศษ มิตาไรหาด้ายที่มีน�้าหนักเบาแต่อุ่น
         เคล็ดลับความคิดสร้างสรรค์ของ Hobonichi อยู่ที่การถามทุกคน   และขอให้ดีไซเนอร์ Knitting ชื่อดัง ช่วยออกแบบลายให้ ที่ส�าคัญ
         ในบริษัทว่า “อยากท�าอะไร” ไม่ใช่ “ต้องท�าอะไร” อิโตอิไม่ได้   นอกจากเสื้อสเวตเตอร์รุ่นปกติแล้ว มิตาไรยังสร้างบริการถักเสื้อ
         มอบหมายงานว่า พนักงานต้องท�าอะไร แต่ให้พวกเขาคิดเองว่า   สเวตเตอร์ตามไซส์ โดยลูกค้าส่งรายละเอียดหุ่นมาให้ ทางทีมจะถัก
         อยากท�าอะไร ท�าแล้วตนเองและแฟนเว็บจะมีความสุขหรือไม่ ถ้าใช่   เสื้อสเวตเตอร์ที่ขนาดพอดีกับเจ้าของ
         ก็ลงมือท�า ไม่มีการตั้งเป้าหมายหรือแบ่งงบประมาณใดๆ ทั้งสิ้น
         เมื่อเป็นงานที่ตนเองอยากท�าเอง พนักงานจึงลงมือท�าเต็มที่ อย่าง   ส่วนราคานั้นสูงถึงตัวละ 5-6 หมื่นบาท ทว่า ตอนนี้ มีลูกค้าเข้าคิวรอ
         Hobonichi Planner พนักงานดีไซน์ในแบบที่ตนเองอยากใช้ เมื่อได้  ถึง 200 คน และต้องรอกันข้ามปี แต่ Kesennuma Knitting ก็ยัง
         ต้นแบบก็น�ามาลองใช้จริงๆ เป็นเวลา 3-4 เดือน ปรับแก้และท�าให้   ได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่ง ส่วนหนึ่งด้วยดีไซน์ที่สวยงาม แต่อีกส่วน
         ดีที่สุดเมื่อตนเองได้ใช้เอง เวลาที่ต้องเขียนบทความหรือโปรโมตสินค้า   คือ ความอบอุ่นที่ลูกค้าได้รู้ว่า มีใครสักคนก�าลังขะมักเขม้นถัก
         ก็สามารถพูดได้อย่างเต็มปากว่า สินค้านี้เป็นสินค้าที่ตนมั่นใจ และ   สเวตเตอร์เพื่อตัวเองระหว่างที่ถัก คุณป้าผู้ถักจะเขียนจดหมายหรือ
         มีข้อดีอย่างไร                                        แนบโปสการ์ดส่งถึงลูกค้าผู้สั่งจองพร้อมเล่าว่า ถักเสื้อไปได้เท่าไรแล้ว
                                                               อากาศที่เมืองเป็นอย่างไรบ้าง เป็นการสร้างความสัมพันธ์และก่อให้
            3         เพิ่มระดับ                               เกิดความอบอุ่นในใจลูกค้าตั้งแต่ก่อนที่เสื้อสเวตเตอร์สุดพิเศษนี้

                                                               จะเดินทางไปถึงจริงๆ
                      ความสุข               ให้ทุกคน
























           Cr. Nikkei                                                                       ที่มา : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

                                                                                               JULY 2017 | CAT CLUB
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16